การศึกษาไทยในยุคปัจจุบัน มักเกิดคำถามหลากหลายว่า
ทุกวันนี้เรามาถูกทางแล้วหรือยัง
ทุกวันนี้เรามาถูกทางแล้วหรือยัง
ในเมื่อประเทศไทยลงทุนกับประมาณการศึกษาอย่างก้าวกระโดดในระยะเวลา 10 ปี
โดยมีอัตราส่วนงบประมาณที่เพิ่มขึ้นปีละ 7% หรือ 20,000 ล้านบาท แต่ผลสัมฤทธิ์
ทางการศึกษาของเด็กและเยาวชนกลับสวนทาง จากการทดสอบPISA ในปี 2012 พบว่า
มีนักเรียนไทยเกือบครึ่ง หรือ 49.7% ที่ได้คะแนนในวิชาคณิตศาสตร์อยู่ในระดับ 1
หรือต่ำกว่า ในขณะที่คะแนนมาตรฐานที่ผ่านเกณฑ์ควรอยู่ในระดับ 2 ขึ้นไป
รวมถึงปัญหาทักษะการอ่านที่ยังอยู่ในระดับที่ต่ำซึ่งส่งผลต่อการเรียนรู้ในวิชาอื่นทั้งหมด
โดยมีอัตราส่วนงบประมาณที่เพิ่มขึ้นปีละ 7% หรือ 20,000 ล้านบาท แต่ผลสัมฤทธิ์
ทางการศึกษาของเด็กและเยาวชนกลับสวนทาง จากการทดสอบPISA ในปี 2012 พบว่า
มีนักเรียนไทยเกือบครึ่ง หรือ 49.7% ที่ได้คะแนนในวิชาคณิตศาสตร์อยู่ในระดับ 1
หรือต่ำกว่า ในขณะที่คะแนนมาตรฐานที่ผ่านเกณฑ์ควรอยู่ในระดับ 2 ขึ้นไป
รวมถึงปัญหาทักษะการอ่านที่ยังอยู่ในระดับที่ต่ำซึ่งส่งผลต่อการเรียนรู้ในวิชาอื่นทั้งหมด
เวทีวิชาการ “อภิวัฒน์การเรียนรู้...สู่จุดเปลี่ยนประเทศไทย” จัดโดยสำนักงาน
ส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน(สสค.)และสำนักงานกองทุนสนับสนุน
การสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) เมื่อวันที่ 6-8 พฤษภาคม ที่อิมแพคเมืองทองธานี ได้มีเวที
สะท้อนเสียงของเด็กเยาวชนถึงระบบการศึกษาไทยไว้อย่างน่าสนใจ
ส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน(สสค.)และสำนักงานกองทุนสนับสนุน
การสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) เมื่อวันที่ 6-8 พฤษภาคม ที่อิมแพคเมืองทองธานี ได้มีเวที
สะท้อนเสียงของเด็กเยาวชนถึงระบบการศึกษาไทยไว้อย่างน่าสนใจ
เริ่มจากเด็กในระบบการศึกษาที่มีเส้นทางเดินเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย น.ส.ธิดารัตน์กุลแก้ว
ร.ร.รัตนโกสินทร์สมโภช บางขุนเทียน สะท้อนว่า การเรียนในระบบสายสามัญทุกวันนี้มี
การแข่งขันที่สูงมาก นำมาซึ่งวงจรอุบาทว์ และค่านิยมเรียนพิเศษ ตรงนี้ไม่ใช่เด็กที่กด
ดันแต่พ่อแม่ก็คอยเป็นกังวล โดยเฉพาะค่าเรียนพิเศษ ที่ต้องเสียเดือนละไม่ต่ำกว่า 2,000-
3,000 บาท พ่อแม่ก็ยอมจ่ายเพื่อให้ลูกมีโอกาสเข้ามหาวิทยาลัยที่ดี เพราะเชื่อว่าจะได้
งานทำที่ดี แต่การเรียนที่เป็น
อยู่เป็นการเรียนเพื่อสอบ เหมือนกับจัดการศึกษาแบบรองเท้าเบอร์เดียวที่บังคับให้ต้อง
เรียนในกรอบไม่สามารถให้คำตอบได้ว่า ใช่สิ่งที่ต้องการหรือไม่ หรือถ้าเดินออกจากเส้น
ทางแล้วก็ต้องหลุดออกจากนอกระบบ จึงเสมือนกรอบที่ปิดกั้นเด็กว่า หากคุณเดิน
ออกนอกกรอบก็เหมือนกับคุณได้เดินออกจากเส้นทางชีวิตไปเลย ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าเศร้า
ร.ร.รัตนโกสินทร์สมโภช บางขุนเทียน สะท้อนว่า การเรียนในระบบสายสามัญทุกวันนี้มี
การแข่งขันที่สูงมาก นำมาซึ่งวงจรอุบาทว์ และค่านิยมเรียนพิเศษ ตรงนี้ไม่ใช่เด็กที่กด
ดันแต่พ่อแม่ก็คอยเป็นกังวล โดยเฉพาะค่าเรียนพิเศษ ที่ต้องเสียเดือนละไม่ต่ำกว่า 2,000-
3,000 บาท พ่อแม่ก็ยอมจ่ายเพื่อให้ลูกมีโอกาสเข้ามหาวิทยาลัยที่ดี เพราะเชื่อว่าจะได้
งานทำที่ดี แต่การเรียนที่เป็น
อยู่เป็นการเรียนเพื่อสอบ เหมือนกับจัดการศึกษาแบบรองเท้าเบอร์เดียวที่บังคับให้ต้อง
เรียนในกรอบไม่สามารถให้คำตอบได้ว่า ใช่สิ่งที่ต้องการหรือไม่ หรือถ้าเดินออกจากเส้น
ทางแล้วก็ต้องหลุดออกจากนอกระบบ จึงเสมือนกรอบที่ปิดกั้นเด็กว่า หากคุณเดิน
ออกนอกกรอบก็เหมือนกับคุณได้เดินออกจากเส้นทางชีวิตไปเลย ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าเศร้า
อาร์ม ปราชญ์ ปราดเปรื่อง นักเรียนสายกีฬา ร.ร.บางละมุง จ.ชลบุรี เล่าว่า “ผมเป็น
เด็กเรียนไม่เก่งและไม่ชอบกีฬา แต่พอเรียนทั้งสองอย่างควบคู่กันทำให้พบว่าผมเรียน
กีฬาได้ดีกว่า จึงไม่เลือกเรียนสายสามัญ ถ้าถามว่าอยากได้การศึกษาแบบไหน
ขอบอกเลยว่า อยากได้การศึกษาที่เยาวชนต้องการสามารถตอบสนองตามความถนัด
ในแต่ละบุคคล เพราะคนเรามีความถนัดต่างกัน ไม่ใช่ถูกยัดเยียดให้เรียนเหมือนกัน
ทั้งที่เราแตกต่างกัน”
เด็กเรียนไม่เก่งและไม่ชอบกีฬา แต่พอเรียนทั้งสองอย่างควบคู่กันทำให้พบว่าผมเรียน
กีฬาได้ดีกว่า จึงไม่เลือกเรียนสายสามัญ ถ้าถามว่าอยากได้การศึกษาแบบไหน
ขอบอกเลยว่า อยากได้การศึกษาที่เยาวชนต้องการสามารถตอบสนองตามความถนัด
ในแต่ละบุคคล เพราะคนเรามีความถนัดต่างกัน ไม่ใช่ถูกยัดเยียดให้เรียนเหมือนกัน
ทั้งที่เราแตกต่างกัน”
ขณะที่ “เบียร์” ชิดดนัย ศรีเที่ยงตรง เด็กนอกระบบ จ.ขอนแก่น เล่าถึงแง่มุมที่
น่าสนใจว่าไม่อยากให้มองว่า เด็กแว้นนั้นไม่ดี การที่เราแว้นไปวันๆ ก็เนื่องจากต้อง
การรวมกลุ่มกันเพื่อปรึกษาปัญหาในครอบครัวก็เท่านั้น เพราะที่ผ่านมาครอบครัว
ไม่สามารถให้คำปรึกษาอะไรพวกเราได้เลยถ้าหากสังคมให้โอกาสได้มีกิจกรรมทำ
เช่น ซ่อมรถ ทำร้านขนม คงไม่คิดที่จะแว้นซิ่งรถอย่างเดียวแน่นอน
น่าสนใจว่าไม่อยากให้มองว่า เด็กแว้นนั้นไม่ดี การที่เราแว้นไปวันๆ ก็เนื่องจากต้อง
การรวมกลุ่มกันเพื่อปรึกษาปัญหาในครอบครัวก็เท่านั้น เพราะที่ผ่านมาครอบครัว
ไม่สามารถให้คำปรึกษาอะไรพวกเราได้เลยถ้าหากสังคมให้โอกาสได้มีกิจกรรมทำ
เช่น ซ่อมรถ ทำร้านขนม คงไม่คิดที่จะแว้นซิ่งรถอย่างเดียวแน่นอน
“ที่บอกว่า พวกผมไม่รู้จักร่ำเรียน ผมอยากบอกว่าเราถูกปิดกั้นจากสังคมที่มอง
ว่าเป็นเด็กไม่ดีอยากขอสังคมให้โอกาส และการเรียนฟรี 15 ปี มันฟรีเฉพาะหนังสือ
แต่ค่าเทอมก็ต้องออกเองเมื่อไม่มีเงิน สุดท้ายก็ไม่ได้เรียน กลับไปสู่วังวนแบบเดิมๆอีก”
ว่าเป็นเด็กไม่ดีอยากขอสังคมให้โอกาส และการเรียนฟรี 15 ปี มันฟรีเฉพาะหนังสือ
แต่ค่าเทอมก็ต้องออกเองเมื่อไม่มีเงิน สุดท้ายก็ไม่ได้เรียน กลับไปสู่วังวนแบบเดิมๆอีก”
รศ.ดร.สมพงษ์ จิตระดับ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวสะท้อนมุม
มองที่ได้จากเสียงเด็กและเยาวชนว่า จากการทำโพลที่สสค.ร่วมกับมหาวิทยาลัย
อัสสัมชัญในเดือนเมษายนที่ผ่านมาพบว่า เด็กและเยาวชน 53% สะท้อนการเรียน
การสอนในปัจจุบันว่าเป็นการสอนที่ เริ่มต้นจากความรู้ในหนังสือและจบลงที่ข้อสอบ
เด็กไทยเรียนหนักมากที่สุดในโลกแต่ไม่สามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
และที่น่าสนใจเด็กอยากตั้งคำถามถึงครูยุคนี้ว่า ทำไมสอนในห้องเรียนไม่รู้เรื่อง
แต่สอนพิเศษกลับรู้เรื่องหรือ ทำไมครูไม่หาวิธีการสอนที่สนุกไม่น่าเบื่อ หรือทำไม
สอนต้องอ่านตามหนังสือ การเรียนรู้ของเด็กไทยจึงไม่มีความสุขกับการเรียนและยัง
มีปัญหาโอกาสและมาตรฐานการศึกษาของไทยไม่เท่าเทียมกัน
มองที่ได้จากเสียงเด็กและเยาวชนว่า จากการทำโพลที่สสค.ร่วมกับมหาวิทยาลัย
อัสสัมชัญในเดือนเมษายนที่ผ่านมาพบว่า เด็กและเยาวชน 53% สะท้อนการเรียน
การสอนในปัจจุบันว่าเป็นการสอนที่ เริ่มต้นจากความรู้ในหนังสือและจบลงที่ข้อสอบ
เด็กไทยเรียนหนักมากที่สุดในโลกแต่ไม่สามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
และที่น่าสนใจเด็กอยากตั้งคำถามถึงครูยุคนี้ว่า ทำไมสอนในห้องเรียนไม่รู้เรื่อง
แต่สอนพิเศษกลับรู้เรื่องหรือ ทำไมครูไม่หาวิธีการสอนที่สนุกไม่น่าเบื่อ หรือทำไม
สอนต้องอ่านตามหนังสือ การเรียนรู้ของเด็กไทยจึงไม่มีความสุขกับการเรียนและยัง
มีปัญหาโอกาสและมาตรฐานการศึกษาของไทยไม่เท่าเทียมกัน
เสียงสะท้อนของเด็กและเยาวชนไทยที่มีต่อระบบการศึกษา จึงเป็น “คำถาม”
ถึงระบบการจัดการศึกษา
ถึงระบบการจัดการศึกษา
ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร รองประธานกรรมการส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพ
เยาวชน กล่าวไว้ในช่วงท้ายของเวทีวิชาการนี้ว่า มีตัวชี้วัดสำคัญเพื่อสะท้อนประสิทธิ
ภาพการจัดการศึกษาที่ทั่วโลกให้การยอมรับอยู่ 4 ด้าน ซึ่งพบว่าประเทศไทยยังมีปัญหา
ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ 1.ทรัพยากรด้านการศึกษาไทยลงทุนด้านการศึกษาเป็นอันดับ 2 ของ
โลก แต่กลับลงทุนพัฒนาผู้เรียนเพียง 4.5% 2. ปัญหาเด็กด้อยโอกาสที่ทำให้ไทยติด
อันดับรั้งท้ายทางการศึกษาเพราะมีเด็กที่ยังไม่เข้าถึงการศึกษาภาคบังคับถึง10%
และเด็กที่หลุดออกจากระบบการศึกษา 3-5 ล้านคนซึ่งกระทบต่ออัตราการขยายตัว
ทางเศรษฐกิจของประเทศไทยสูงถึง3%ต่อปี 3.ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของเด็ก
ไทยเกือบครึ่งของประเทศก็อยู่ในระดับต่ำกว่ามาตรฐาน และ 4.ผลลัพท์ด้านสังคม
และเศรษฐกิจ ที่คุณภาพแรงงานไทย 80% ยังเป็นแรงงานไร้ฝีมือ
เยาวชน กล่าวไว้ในช่วงท้ายของเวทีวิชาการนี้ว่า มีตัวชี้วัดสำคัญเพื่อสะท้อนประสิทธิ
ภาพการจัดการศึกษาที่ทั่วโลกให้การยอมรับอยู่ 4 ด้าน ซึ่งพบว่าประเทศไทยยังมีปัญหา
ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ 1.ทรัพยากรด้านการศึกษาไทยลงทุนด้านการศึกษาเป็นอันดับ 2 ของ
โลก แต่กลับลงทุนพัฒนาผู้เรียนเพียง 4.5% 2. ปัญหาเด็กด้อยโอกาสที่ทำให้ไทยติด
อันดับรั้งท้ายทางการศึกษาเพราะมีเด็กที่ยังไม่เข้าถึงการศึกษาภาคบังคับถึง10%
และเด็กที่หลุดออกจากระบบการศึกษา 3-5 ล้านคนซึ่งกระทบต่ออัตราการขยายตัว
ทางเศรษฐกิจของประเทศไทยสูงถึง3%ต่อปี 3.ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของเด็ก
ไทยเกือบครึ่งของประเทศก็อยู่ในระดับต่ำกว่ามาตรฐาน และ 4.ผลลัพท์ด้านสังคม
และเศรษฐกิจ ที่คุณภาพแรงงานไทย 80% ยังเป็นแรงงานไร้ฝีมือ
สำหรับข้อเสนอถึงระบบบริหารจัดการใหม่ซึ่งได้จากการสังเคราะห์ความรู้จาก
ประเทศที่ประสบผลสำเร็จทางการศึกษา และจากเวทีระดมความเห็นของทุกภาค
ส่วนในสังคมเพื่อเป็นคานงัดสำคัญในการยกระดับคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วย
1 การยกระดับคุณภาพครู เพื่อสร้างจุดเปลี่ยนเรียนรู้ในห้องเรียนกระบวนการผลิต
ครูต้องมีการควบคุมคุณภาพและการพัฒนาครูที่ต้องมีมาตรการสนับสนุน
2 การลดช่องว่างคุณภาพโรงเรียน เพื่อสร้างโอกาสให้เด็กในทุกพื้นที่เข้าถึงโรงเรียน
ดีมีคุณภาพ ด้วยการปลดล็อกกฎระเบียบเพื่อทำให้เกิดการกระจายอำนาจให้อิสระ
การบริหารจัดการโรงเรียนบนความรับผิดชอบต่อการตรวจสอบผลงาน
3 ขยายผลระบบดูแลช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาส ผ่านระบบประกบตัวดูแลเด็กด้อย
โอกาสในโรงเรียนและระบบฐานข้อมูลเด็กด้อยโอกาสเพื่อวางทิศทางการดูแลในทุกพื้นที่
ประเทศที่ประสบผลสำเร็จทางการศึกษา และจากเวทีระดมความเห็นของทุกภาค
ส่วนในสังคมเพื่อเป็นคานงัดสำคัญในการยกระดับคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วย
1 การยกระดับคุณภาพครู เพื่อสร้างจุดเปลี่ยนเรียนรู้ในห้องเรียนกระบวนการผลิต
ครูต้องมีการควบคุมคุณภาพและการพัฒนาครูที่ต้องมีมาตรการสนับสนุน
2 การลดช่องว่างคุณภาพโรงเรียน เพื่อสร้างโอกาสให้เด็กในทุกพื้นที่เข้าถึงโรงเรียน
ดีมีคุณภาพ ด้วยการปลดล็อกกฎระเบียบเพื่อทำให้เกิดการกระจายอำนาจให้อิสระ
การบริหารจัดการโรงเรียนบนความรับผิดชอบต่อการตรวจสอบผลงาน
3 ขยายผลระบบดูแลช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาส ผ่านระบบประกบตัวดูแลเด็กด้อย
โอกาสในโรงเรียนและระบบฐานข้อมูลเด็กด้อยโอกาสเพื่อวางทิศทางการดูแลในทุกพื้นที่
4 สวัสดิการหนังสือสำหรับเด็กแรกเกิดและส่งเสริมให้วัฒนธรรมการอ่าน 5 ปรับปรุง
หลักสูตร กระบวนการเรียนการสอนเพื่อปลูกฝังทัศนคติและทักษะการทำงานที่ดี
การศึกษาที่แท้จริงต้องนำไปสู่การมีงานทำจึงต้องสร้างกำลังคนรุ่นใหม่ที่พร้อมต่อโลก
การทำงาน ซึ่งยุทธศาสตร์สำคัญที่จะสำเร็จได้ต้องเริ่มจากการปฏิรูปการเรียนรู้ในระดับ
พื้นที่เพื่อให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในลักษณะ“จังหวัดจัดการตนเอง”ขณะนี้มี 10
จังหวัดต้นแบบจากสสค.ที่ลุกขึ้นมาปฏิรูปการศึกษาแล้ว 10 จังหวัด ซึ่งจะเป็นการพัฒนา
ที่ตอบโจทย์ความต้องการในพื้นที่และนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงเชิงระบบบริหารจัดการ
หลักสูตร กระบวนการเรียนการสอนเพื่อปลูกฝังทัศนคติและทักษะการทำงานที่ดี
การศึกษาที่แท้จริงต้องนำไปสู่การมีงานทำจึงต้องสร้างกำลังคนรุ่นใหม่ที่พร้อมต่อโลก
การทำงาน ซึ่งยุทธศาสตร์สำคัญที่จะสำเร็จได้ต้องเริ่มจากการปฏิรูปการเรียนรู้ในระดับ
พื้นที่เพื่อให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในลักษณะ“จังหวัดจัดการตนเอง”ขณะนี้มี 10
จังหวัดต้นแบบจากสสค.ที่ลุกขึ้นมาปฏิรูปการศึกษาแล้ว 10 จังหวัด ซึ่งจะเป็นการพัฒนา
ที่ตอบโจทย์ความต้องการในพื้นที่และนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงเชิงระบบบริหารจัดการ
สิ่งสำคัญคือ การปฏิรูประบบการศึกษาไทยครั้งใหม่ต้องไม่ผลักภาระให้เป็นหน้าที่ของ
ใครฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งแต่ควรเป็นหน้าที่ของทุกฝ่ายที่ต้องร่วมมือกัน เพื่อให้ถึง “จุดเปลี่ยน” จากที่เคยเป็นมา
ใครฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งแต่ควรเป็นหน้าที่ของทุกฝ่ายที่ต้องร่วมมือกัน เพื่อให้ถึง “จุดเปลี่ยน” จากที่เคยเป็นมา
ที่มา : http://seminar.qlf.or.th/Archive/View/32
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น